วิธีการใช้งานเครื่องชั่งดิจิตอลอย่างถูกต้อง
เครื่องชั่งดิจิตอล จะมีระบบการทำงานคือ จะมีการคำนวณน้ำหนักของที่ชั่ง ตามหลักการ ของโหลดเซลล์ แล้วจะมีการประมวลค่าให้เป็นสัญญาณดิจิตอลหรืออิเล็กทรอนิกส์
แล้วจะไปแสดงบนหน้าจอเครื่องชั่งในรูปแบบดิจิตอล
เครื่องชั่งดิจิตอล จะมีระบบการทำงานคือ จะมีการคำนวณน้ำหนักของที่ชั่ง ตามหลักการ ของโหลดเซลล์ แล้วจะมีการประมวลค่าให้เป็นสัญญาณดิจิตอลหรืออิเล็กทรอนิกส์
แล้วจะไปแสดงบนหน้าจอเครื่องชั่งในรูปแบบดิจิตอล
วิธีการใช้เครื่องชั่งอย่างวิธีคือ
1.การวางของบนจานชั่ง ควรวางสิ่งที่ต้องการชั่งให่อยู่ตรงกลางจาน เพื่อให้โหลดเซลล์ทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ค่าน้ำหนักจะได้ไม่คลาดเคลื่อน
2.ถ้าเกิดเป็นในกรณีที่เครื่องชั่งละเอียด หากมีการใช้งานเกิน 30 นาที ควรวางสิ่งของที่จะชั่งบนจานชั่ง
เป็นช่วงเวลาสั้นๆ แล้วยกออกก่อนการชั่งจริง เป็นการทำ pre loading warm ก่อนการใช้งาน
3.ควรรีบนำสิ่งของที่ชั่งออกจากจานชั่งเมื่อชั่งเสร็จแล้ว เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและความชื้นภายในเครื่องชั่ง ซึ่งอาจเกิดจากสิ่งที่ชั่งนั้น และไม่ทำให้เครื่องล้า
เนื่องจากถ้าเสียบปลั๊กอยู่ตลอดเวลาจะมีแรงต้านอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อปิดเครื่องถอดปลั๊กจะต้องหยิบภาชนะออกเพื่อป้องกัน Load cell เสียเนื่องจากไม่มีแรงต้านทานครับผม
4.พื้นที่วางเครื่องชั่งต้องเรียบ เสมอกัน ไม่ลุ่มๆ ดอนๆ หรือถ้าเป็นโต๊ะสำหรับวางเครื่องชั่งต้องมั่นคง แข็งแรง ไม่โยกเยก
5. อุณหภูมิภาในห้องเครื่องชั่งควรคงที่ เนื่องจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป 1 องศา
จะทำให้เครื่องชั่งอ่านค่าผิดไป 1-2 ส่วนในล้านส่วน และไม่ควรชั่งน้ำหนักที่ร้อนหรือชั่งใกล้กับสิ่งที่ทำให้เกิดความร้อน
6. ความชื้นสัมพัทธ์ในห้องเครื่องชั่งควรอยู่ระหว่าง 45-60%
7. ไม่ควรอยุ่ใกล้ประตูทางเข้าออกด้วย หรือ กระแสลมจากเครื่องปรับอากาศและเครื่องมือที่ทำให้เกิดกระแสลม เพราะกระแสลมทำให้การชั่งคลาดเคลื่อน
8.ควรเปิดเครื่องชั่งก่อนใช้ทุกครั้ง เพื่อ warm up ก่อนเพื่อให้วงจรอิเลคทรอนิกส์เริ่มทำงานและมีอุณหภูมิที่เหมาะสม (ในตัวเครื่องจะมีระบบชดเชยอุณหภูมิอยู่ด้วย)
ซึ่งระยะเวลาในการ warm จะขึ้นอยู่กับความละเอียดของเครื่องชั่ง
***ข้อควรจำ การวางน้ำหนังลงบนเครื่องชั่งโดย น้ำหนักเกินโหลดเซลล์จะรับได้
(full scale) หรือไม่ ก็ไม่เป็นผลดีต่อเครื่องชั่งเช่นกัน อาจจะส่งผลต่อโหลดเซลล์ ทำให้โหลดเซลล์เสียได้
1.การวางของบนจานชั่ง ควรวางสิ่งที่ต้องการชั่งให่อยู่ตรงกลางจาน เพื่อให้โหลดเซลล์ทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ค่าน้ำหนักจะได้ไม่คลาดเคลื่อน
2.ถ้าเกิดเป็นในกรณีที่เครื่องชั่งละเอียด หากมีการใช้งานเกิน 30 นาที ควรวางสิ่งของที่จะชั่งบนจานชั่ง
เป็นช่วงเวลาสั้นๆ แล้วยกออกก่อนการชั่งจริง เป็นการทำ pre loading warm ก่อนการใช้งาน
3.ควรรีบนำสิ่งของที่ชั่งออกจากจานชั่งเมื่อชั่งเสร็จแล้ว เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและความชื้นภายในเครื่องชั่ง ซึ่งอาจเกิดจากสิ่งที่ชั่งนั้น และไม่ทำให้เครื่องล้า
เนื่องจากถ้าเสียบปลั๊กอยู่ตลอดเวลาจะมีแรงต้านอยู่ตลอดเวลา แต่เมื่อปิดเครื่องถอดปลั๊กจะต้องหยิบภาชนะออกเพื่อป้องกัน Load cell เสียเนื่องจากไม่มีแรงต้านทานครับผม
4.พื้นที่วางเครื่องชั่งต้องเรียบ เสมอกัน ไม่ลุ่มๆ ดอนๆ หรือถ้าเป็นโต๊ะสำหรับวางเครื่องชั่งต้องมั่นคง แข็งแรง ไม่โยกเยก
5. อุณหภูมิภาในห้องเครื่องชั่งควรคงที่ เนื่องจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป 1 องศา
จะทำให้เครื่องชั่งอ่านค่าผิดไป 1-2 ส่วนในล้านส่วน และไม่ควรชั่งน้ำหนักที่ร้อนหรือชั่งใกล้กับสิ่งที่ทำให้เกิดความร้อน
6. ความชื้นสัมพัทธ์ในห้องเครื่องชั่งควรอยู่ระหว่าง 45-60%
7. ไม่ควรอยุ่ใกล้ประตูทางเข้าออกด้วย หรือ กระแสลมจากเครื่องปรับอากาศและเครื่องมือที่ทำให้เกิดกระแสลม เพราะกระแสลมทำให้การชั่งคลาดเคลื่อน
8.ควรเปิดเครื่องชั่งก่อนใช้ทุกครั้ง เพื่อ warm up ก่อนเพื่อให้วงจรอิเลคทรอนิกส์เริ่มทำงานและมีอุณหภูมิที่เหมาะสม (ในตัวเครื่องจะมีระบบชดเชยอุณหภูมิอยู่ด้วย)
ซึ่งระยะเวลาในการ warm จะขึ้นอยู่กับความละเอียดของเครื่องชั่ง
***ข้อควรจำ การวางน้ำหนังลงบนเครื่องชั่งโดย น้ำหนักเกินโหลดเซลล์จะรับได้
(full scale) หรือไม่ ก็ไม่เป็นผลดีต่อเครื่องชั่งเช่นกัน อาจจะส่งผลต่อโหลดเซลล์ ทำให้โหลดเซลล์เสียได้